Guideline Type2 DM from AACE

  • เป้าหมายการรักษาเบาหวานชนิดที่ 2 ขึ้นกับ อายุของผู้ป่วย โรคร่วม ความเสี่ยงต่อการเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ และปัจจัยอื่นๆตามผู้ป่วยแต่ละคน โดยคนไข้ส่วนใหญ่ที่เป็นเบาหวานมาไม่นาน ไม่มีโรคร่วม ASCVD ควรตั้งเป้าให้   A1C goal  ≤6.5 % เพื่อลดการเกิด lifetime risk of micro- and macrovascular complications. แต่อาจ ตั้งเป้า >6.5%ในรายที่อายุมาก มีความเสี่ยงหรือประวัติการเกิดน้ำตาลต่ำรุนแรง, limited life expectancy, advanced renal disease or macrovascular complications, extensive comorbid conditions, or long-standing T2D in which the A1C goal has been difficult to attain despite intensive efforts เป็นต้น
  • Metformin เป็นยาที่เหมาะสมสำหรับเบาหวานชนิดที่ 2 เนื่องจาก ประสิทธิภาพดี ทำให้น้ำหนักลดได้เล็กน้อย ควรใช้ขนาดยา 1,000 to 2,000 mg ต่อวัน  โดยใช้ในรายที่ stable eGFR >30 mL/min/1.73 m2 เพื่อป้องกันการเกิด lactic acidosis (อย่างไรก็ดี  ไม่แนะนำให้เริ่มยาในรายที่ eGFR <45 mL/min/1.73 m2) นอกจากนี้  ผู้ป่วยที่ใช้ metformin เกือบ 16% พบว่า  vitamin B12 malabsorption and/or deficiency ทำให้มีอาการ anemia and peripheral neuropathy ดังนั้น อาจต้องเฝ้าระวังอาการและให้ วิตามินB12 ในรายที่สงสัย
  • Glucagon-like peptide 1 (GLP1) receptor agonists ยาลดน้ำตาลสะสมได้ดี ลดน้ำหนัก ไขมันในเลือดและความดันโลหิตได้  เช่น  Liraglutide ได้รับอนุมัติจาก FDA เนื่องจากลด risk of cardiovascular death,
    nonfatal myocardial infarction, and nonfatal strokeในเบาหวาน T2D ที่ established cardiovascular disease  นอกจากนี้ Data from the SUSTAIN-6 trial semaglutide และ REWIND กับ HARMONY trials with dulaglutide and albiglutide, respectively, ให้ข้อมูลเช่นเดียวกันว่ามีผลดีต่อหัวใจ cardiovascular disease benefits
  • Sodium-glucose cotransporter 2 (SGLT2) inhibitors ยาขับน้ำตาลออกทางปัสสาวะ glucosuric effect ส่งผลลด  A1C น้ำหนัก และ systolic BP.
  • Dipeptidyl peptidase 4 (DPP4) inhibitors ยับยั้ง DPP4  ทำให้ enhancing levels of GLP1 and other incretin hormones. ทำให้กระตุ้นการหลั่งอินซูลิน  glucose-dependent insulin synthesis และกดการหลั่ง glucagon
    ยากลุ่มนี้ ลดน้ำตาลสะสมได้ไม่มาก ไม่ทำให้น้ำหนักขึ้น  แต่ไม่เพิ่มการเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ ยาส่วนใหญ่ขับออกทางไต ดังนั้นควรปรับลดโดสเมื่อไตเสื่อม (ยกเว้น  linagliptin)
    และระวังการใช้ยาในรายที่มีประวัติตับอ่อนอักเสบ   DPP4 inhibitors have neutral effects on cardiovascular outcomes ( slightly increased risk of heart failure with saxagliptin and alogliptin)
  • TZD ลดภาวะดื้ออินซุลิน  ไม่ค่อยเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ  ข้อเสีย เช่น น้ำหนักขึ้น เสี่ยงหัวใจวายในบางราย และ เพิ่มความเสี่ยงกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจำเดือน  และชายสูงอายุ
  • alpha glucosidase inhibitors (AGIs) ลดน้ำตาลสะสมได้ปานกลาง ไม่ค่อยเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ อาจเกิดอาการทางระบบทางเดินอาหารเช่น ท้องอืด ท้องเสีย
  • insulin-secretagogue SUs  ลดน้ำตาลสะสมได้ดี แต่อาจทำให้น้ำหนักเพิ่มและน้ำตาลในเลือดต่ำ
  • Colesevelam, a BAS, ลดน้ำตาลสะสมได้ปานกลาง ไม่ค่อยเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ แต่เกิดท้องผูก ท้องอืด ได้ถึง  gastrointestinal intolerance 10%  นอกจากนี้ อาจพบว่ายาทำให้เพิ่ม triglyceride อีกด้วย
  • quick-release sympatholytic dopamine receptor agonist bromocriptine mesylate ลดน้ำตาลสะสมได้ปานกลาง ไม่ค่อยเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ   อาจมีคลื่นไส้ เวียนหัว  may be associated with reduced cardiovascular event rates

อ่านต่อ https://www.aace.com/pdfs/diabetes/algorithm-exec-summary.pdf

 

Share on social media:
Facebook
Twitter
LinkedIn
Telegram

โพสที่เกี่ยวข้อง