10 มีนาคม 2020

The New Biology of Diabetic Kidney Disease— Mechanisms and Therapeutic Implications

Diabetic Kidney Disease— Mechanisms and Therapeutic Implications จาก endocrine reviews april 2020

Diabetic kidney disease เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดไตวายเรื้อรัง end-stage kidney disease มากถึง 44.5%  ช่วง10ปีที่ผ่านมา มียามากมาย เช่น การใช้ร่วมกันระหว่าง dual renin-angiotensin-aldosterone system (RAAS) blockade หรือ ยา inhibition of protein kinase C-β, endothelin receptor antagonists, and the antioxidant bardoxolone  แต่ยังได้ผลการรักษาที่ไม่น่าพอใจ

กลไกการเกิด  DKD เกี่ยวข้องทั้ง  hemodynamic and nonhemodynamic mechanisms of renal injury มีการเพิ่มขึ้นของ intraglomerular wall tension and shear stress เกิดการ activation of pro-inflammatory cytokines

RAAS มีบทบาทสำคัญในการทำให้เกิด DKD โดยทำให้เกิด efferent constriction และ intraglomerular hypertension และ activating a variety of downstream pro-inflammatory and pro-fibrotic pathways

ระยะแรกจะพบ intraglomerular hypertension และ single-nephron hyperfiltration ซึ่งเป็นผลจากการมีน้ำตาลในเลือดสูงเป็นเวลานาน จนทำให้เกิดอัลบูมินรั่วในปัสสาวะ และการทำงานของไตเสื่อมลง

ยารักษา DKD ได้แก่

  • ยากลุ่ม RAAS inhibition ลด efferent arteriolar resistance ส่งผลให้ลด intraglomerular pressure and suppresses other nonhemodynamic injury pathways
  • ยากลุ่ม SGLT2 inhibitors มีข้อมูลยืนยันว่ามีประโยชน์ในแง่ลดอัลบูมินรั่วในปัสสาวะและชะลอการเสื่อมของไต
  • ยากลุ่ม GLP-1 receptor agonists ลด albuminuria, however very modest eGFR preservation effects are observed long term
  • ยากลุ่ม DPP4-inhibitors ยังไม่มีข้อมูลชัดเจนเรื่องชะลอไตเสื่อม
  • ยาใหม่ เช่น more selective, non-steroidal mineralocorticoid receptor antagonists (MRAs) หรือ Agents targeting inflammatory and fibrotic pathways หรือ endothelin receptor antagonists หรือ  uric acid lowering agents ยังอยู่ในการศึกษา

รีวิวนี้อธิบายกลไกการเกิด DKD และการรักษาใหม่ๆในปัจจุบัน อ่านต่อ  https://academic.oup.com/edrv/article/41/2/bnz010/5601424?searchresult=1

Share on social media:
Facebook
Twitter
LinkedIn
Telegram

โพสที่เกี่ยวข้อง