Pharmacological Management of Osteoporosis in Postmenopausal Women: An Endocrine Society Guideline Update ยาใหม่ Romosozumab
- Romosozumab ยาใหม่ 2020 ใช้ยากลุ่มนี้เป็นตัวเลือกในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักมากๆ เช่น severe osteoporosis (ie, low T-score < −2.5 and fractures) or multiple vertebral fractures,แนะนำให้ใช้มากนานกว่า 1 year ในการลด vertebral, hip, and nonvertebral fractures. ขนาดยา 210 mg ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง เดือนละครั้ง รวม12 เดือน หลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่มนี้ ในรายที่มีความเสี่ยงต่อ cardiovascular disease and stroke รายที่ใช้ยา romosozumab ครบคอร์สแล้ว แนะนำให้ใช้ยากลุ่ม antiresorptive ต่อ เพื่อคงมวลกระดูกให้ปกติ และลดความเสี่ยงกระดูกหักในอนาคต
-
Bisphosphonates เริ่มยากลุ่มนี้เป็นตัวแรกในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหัก (alendronate, risedronate, zoledronic acid, and ibandronate) (Ibandronate ไม่แนะนำ) ติดตามผล หลังการรักษา 3 ถึง 5 ปี หากยังมีความเสี่ยง ให้ใช้ยาต่อ ส่วนรายใด ความเสี่ยงลดลงเป็นเสี่ยงต่ำถึงปานกลาง พิจารณาหยุดใช้ชั่วคราว “bisphosphonate holiday.” พิจารณาเริ่มยาอีกครั้ง เมื่อประเมินแล้วมวลกระดูกลดลงอย่างมีนัยสำคัญ หรือมีการเกิดกระดูกหัก เป็นต้น
- Denosumab ใช้ยากลุ่มนี้เป็นตัวเลือกในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหัก ขนาดยา 60 mg ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ทุก 6 เดือน The effects of denosumab on bone remodeling, reflected in bone turnover markers, กลุ่มนี้ ไม่มีความจำเป็นต้องใช้วิธี drug holiday เนื่องจากยาหมดประสิทธิภาพ หลังหยุดใช้นานเกิน 6 เดือน ติดตามผล หลังการรักษา 5-10 ปี
- อื่นๆ เช่น Estrogen Receptor Modulators, Menopausal Hormone Therapy and Tibolone, calcitonin, calcium, vitamin D, Teriparatide and Abaloparatide (Parathyroid Hormone and Parathyroid Hormone-Related Protein Analogs)
อ่านต่อ https://academic.oup.com/jcem/article/105/3/dgaa048/5739968