มูลนิธิโรคกระดูกพรุนแห่งประเทศไทยได้อัพเดตแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคกระดูกพรุนเพิ่มเติมจากเดิมปีพ.ศ. 2553 ใน statement อันใหม่ที่ออกเมื่อปลายปี 2016 นี้ได้รวบรวมทั้งข้อมูล ได้แก่
- ระบาดวิทยาในไทย
- การวัดความหนาแน่นของกระดูก (BMD) และ Biochemical markers of bone turnover (BTMs)
- การป้องกันการหกล้ม
- เป้าหมายในการรักษาโรคกระดูกพรุน
- แนวทางการให้แคลเซียมและวิตามินดีในผู้ป่วยโรคกระดูกพรุน
- แนวทางในการติดตามและประเมินผลการรักษา
- ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการรักษา
- แนวทางในการรักษาโรคกระดูกพรุนซึ่งเกิดจากการใช้สารสเตียรอยด์
สามารถ download full-text ไดที่ http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S240552551630084X